สารสนเทศนวัตกรรม ประจำจังหวัดมหาสารคาม

หน้ากากป้องกันละอองน้ำลาย (face shield 3D printer)


คำอธิบายอย่างย่อ


ผู้พัฒนา    : วิทยาลัยการอาชีพมหาสารคาม (สำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดมหาสารคาม)
การดำเนินการ    :     ดำเนินการอยู่
สถานที่ตั้ง    :     จังหวัดมหาสารคาม
คำสำคัญ    :    

share it

Rate Now
(250 review)

Keyword

  • เกษตร
  • เผยแพร่ความรู้ถึงชุม

    บริการนำองค์ความรู้สู่ชุมชนที่สนใจ

  • 24 X 7 Service

    ติดต่อสอบถามถึงกระบวนการทำงานได้ 24 ชั่วโมง

  • ร่วมทุน

    ร่วมทุนในการพัฒนาต่อยอดโครงการ

  • ค่าใช้จ่าย

    ประเมินค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ และการเดินทาง

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหน้ากากป้องกันละอองน้ำลาย (face shield 3D printer) สำหรับสำหรับผู้ที่ขาดอุปกรณ์ป้องกัน และประเมินความพึงพอใจต่อการใช้อุปกรณ์ป้องกันโรคระบาดที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ กลุ่มนักเรียนแผนกวิชาช่างไฟฟ้า ระดับ ปวช.2 กลุ่ม 1วิทยาลัยสารพัดช่างมหาสารคาม ในเดือน พฤศจิกายน 2563 จำนวน 10 ราย เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบทดลอง แบบบันทึกข้อมูล และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในงานวิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยมีดังนี้ พบว่าผู้ใช้หน้ากากป้องกันละอองน้ำลาย ได้ปลอดภัยจากโรคติดต่อจากการไอจาม 85 เปอร์เซ็น ผู้ไม่ใช้หน้ากากป้องกันละอองน้ำลาย ได้ปลอดภัยจากโรคติดต่อไข้หวัด 90 เปอร์เซ็น ดั้งนั้นในระยะเวลาที่เท่ากัน การใช้หน้ากากป้องกันละอองน้ำลาย สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ความพึงพอใจ ต่อการใช้หน้ากากป้องกันละอองน้ำลาย ค่าเฉลี่ย 4.18 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ อันดับแรก ได้แก่ พัฒนาในเชิงพานิชได้ ค่าเฉลี่ย 4.84 ราคาเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 4.71 เคลื่อนย้ายได้ง่าย ค่าเฉลี่ย 4.63 มีความแข็งแรงคงทน ค่าเฉลี่ย 4.25 ใช้งานได้จริง