สารสนเทศนวัตกรรม ประจำจังหวัดมหาสารคาม

โครงการการสร้างชุมชนต้นแบบด้านการใช้เทคโนโลยีการหมักจากเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ (probiotics) ในการผลิตอาหารสัตว์จากวัตถุดิบในท้องถิ่นและเศษเหลือทางการเกษตร เพื่อยกระดับเป็นสินค้าอาหารสัตว์ของชุมชน สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน


คำอธิบายอย่างย่อ


ผู้พัฒนา    : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา ศิริแสน (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
การดำเนินการ    :     ดำเนินการอยู่
สถานที่ตั้ง    :    
คำสำคัญ    :    

share it

Rate Now
(250 review)

Keyword

  • เกษตร
  • เผยแพร่ความรู้ถึงชุม

    บริการนำองค์ความรู้สู่ชุมชนที่สนใจ

  • 24 X 7 Service

    ติดต่อสอบถามถึงกระบวนการทำงานได้ 24 ชั่วโมง

  • ร่วมทุน

    ร่วมทุนในการพัฒนาต่อยอดโครงการ

  • ค่าใช้จ่าย

    ประเมินค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ และการเดินทาง

กลุ่มเป้าหมาย ชุมชนตำบลห้วยแอ่ง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

- ภาคีเครือข่าย 4 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยแอ่ง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม, อปท.ผู้น้ำชุมชน ผญบ.ทำนั้น อสม.ประจำหมู่บ้าน ตำบล, สหกรณ์โคนมโคกก่อ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม, เครือข่ายโคกหนองนา บ้านหนองใน ตำบลปอพาน อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม กิจกรรมดำเนินงาน

  1.  ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตอาหารสัตว์ท้องถิ่นต้นทุนต่ำ
  2.  ส่งเสริมให้ชุมชนสามารถผลิตอาหารสัตว์ โดยใช้วัตถุดิบในท้องกินเลียงสัตว์ในชุมชนของตนได้อย่างยังยืน
  3.  ผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกรผลิตอาหารสัตว์ ใช้ และจัดจำหน่าย เป็นช่องทางสร้างรายได้ให้กับชุมชน

เป้าหมาย

  1.  มีเทคโนโลยีการผลิตอาหารสัตว์จากวัตถุดิบในท้องถิ่นที่เหมาะสมในชุมชน 1 เทคโนโลยี
  2.  มีผลิตภัณฑ์อาหารผสมครบส่วนแบบหมัก (fermented total mixed ration, FTMR)
  3.  ได้เทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ท้องถิ่นต้นทุนต่ำที่เหมาะสมกับชุมชน
  4.  ได้ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ FTMR ใช้เลี้ยงสัตว์ในชุมชน
  5.  ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ FTMR เป็นสินค้าจัดจำหน่ายได้ในชุมชน และนอกชุมชน รวมทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์

วิจัย/นวัตกรรม/เทคโนโลยี
 เทคโนโลยีการผลิตอาหารผสมครบส่วนแบบหมัก (FTMR) โดยใช้ยิสต์โปรโบโอติกในขบวนการหมัก เพื่อใช้เป็นอาหารโคกระบือ